บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่

Contents

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่ โรแมนติกแบบเรียบง่าย

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่ โรแมนติกแบบเรียบง่าย ชวนมาตกแต่งบ้านให้เรียบง่ายตามแบบสไตล์คันทรี่ เน้นความเป็นธรรมชาติและโทนสีอันอบอุ่น ความเรียบง่ายเน้นความเป็นธรรมชาติคือหัวใจหลักของการตกแต่งในรูปแบบของสไตล์อิงลิชคันทรี่ เพราะต้นแบบมาจากความเรียบง่ายของแบบบ้านในชนบทและกลมกลืนกับบริบทโดยรอบ เน้นความสบายและผสมผสานไปกับธรรมชาติ โดยไม่คำนึงถึงยุคสมัยและการตกแต่งบ้านตามกระแสมากนัก โทนสีที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นสีขาวหรือครีมเพื่อให้เกิดบรรยากาศสบายตา phuket village  รวมไปถึงไม้เก่า เฟอร์นิเจอร์รูปแบบโบราณไม่เน้นความสมบูรณ์แบบแต่ทว่ากลับเป็นเสน่ห์ของการตกแต่งสไตล์นี้ได้เป็นอย่างดี สำหรับใครที่ชื่นชอบการตกแต่งบ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่เหมือนกัน ไม่ว่าคุณจะอยู่ชนบทที่ห่างไกล หรือว่าพักอาศัยอยู่ในเมือง มาแต่งบ้านให้มีกลิ่นอายของความโรแมนติกเหมือนนั่งจิบชายามบ่ายกันเถอะ บ้านจัดสรร

      แล้วลักษณะอย่างไรถึงเรียกว่าสไตล์คันทรี…

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่


      ความจริงแล้วไม่สามารถระบุได้แน่นอนตายตัว ว่าบ้านสไตล์คันทรีต้องเป็นอย่างนี้ ขนาดเท่าไหร่ เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีสภาพที่ตั้ง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ สยวงามแตกต่างกัน เช่น อิงลิชคันทรีที่ดูอ่อนหวาน ชวนฝัน สไตล์ทัสคานีชนบทในประเทศอิตาลี เน้นสร้างบรรยากาศอันอบอุ่น หรือจะเป็นสไตล์โปรวองซ์ สุดแสนโรแมนติก ส่วนทางด้านเมืองผู้ดี ฝรั่งเศสจะส่งผ่านงานดีไซน์ที่ดูอ่อนนุ่ม ประเทศไทยของเราเองจึงนิยมตกแต่งบ้านให้เป็นคันทรีแบบยุโรปเสมอ ทั้งนี้อาจจะเป็นเพราะบรรยากาศที่ดูอบอุ่นธรรมดาแต่สวยงามนั่นเอง บ้านจัดสรรภูเก็ต

บ้านสไตล์อิงลิช เป็นบ้านที่ได้รับอิทธิพลมาจากฝั่งตะวันตก ในแถบทวีปยุโรป โดยเฉพาะประเทศอังกฤษค่ะ ซึ่งลักษณะของมันจะมีกลิ่นอายความเป็นคันทรี เน้นวัสดุไม้เรียบง่าย พร้อมหลังคาจั่วเป็นส่วนใหญ่ ให้บรรยากาศที่เรียบง่าย อบอุ่น และมีความเป็นกันเองค่ะ phuket village

แต่งห้องรับประทานอาหาร ห้องครัวและห้องรับประทานอาหารถูกเรียกว่าเป็นหัวใจของบ้าน เป็นห้องที่ทุกคนใช้เวลาแห่งความสุขร่วมกัน ฉะนั้นการมีห้องรับประทานอาหารที่ดีจึงเป็นเรื่องจำเป็น สำหรับเป้าหมายการตกแต่งสไตล์อิงลิชคันทรี่นี้ คือการสร้างบรรยากาศให้ห้องอาหารดูอ่อนหวานและอบอุ่นไปพร้อมๆกัน เริ่มจากการกรุผนังห้องอาหารด้วยอิฐให้อารมณ์เหมือนกระท่อมหลังน้อย ทาขอบหน้าต่างใหม่ด้วยโทนสีฟ้าอ่อน เสริมด้วยข้าวของที่ดูโรแมนติกเรียบง่ายเข้าไป อย่างโต๊ะรับประทานอาหารสีขาวรูปทรงโบราณ เก้าอี้ไม้ แสงวิบวับของเชิงเทียนอีกนิดหน่อย หรือจะประดับประดาด้วยข้าวของกระจุกกระจิกน่ารัก ก็ช่วยเสริมสร้างสไตล์นี้ได้ดีเช่นกัน

สะท้อนอารมณ์ชนบท แม้ว่ายุคสมัยจะเปลี่ยนไปแต่การตกแต่งสไตล์นี้อย่างที่เราบอกไปแล้วนั้นมักไม่ได้วิ่งตามกระแส หากมีของเดิมอยู่แล้วก็ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์ชุดใหม่เสมอไป เหมือนกับไอเดียตกแต่งบ้านนี้ เพียงแค่เลือกของตกแต่งชิ้นเล็กแต่เป็นกุญแจหลักสำคัญในการสร้างสไตล์อิงลิชคันทรี่ เริ่มจากเพิ่มความนุ่มนวลด้วยเบาะรองนั่งและหมอนอิง เลือกข้าวของที่มีกลิ่นอายธรรมชาติเข้ามาตกแต่ง งานเครื่องสานต่างๆที่ทั้งสวยงามและมีประโยชน์ใช้งานได้จริง อย่างเช่น กระเป๋า ตะกร้าเก็บของ หรือแม้กระทั้งหมวกใบโปรดที่เก็บสะสมมาหลายปีจับคู่กับของใช้ในฟาร์ม เสริมบรรยากาศให้น่ามองยิ่งกว่าเดิม

จัดสวนด้านนอก เสียงนกร้อง การนั่งจิบชาใต้ร่มกันแดด คุณก็สามารถยกบรรยากาศเช่นนี้มาไว้ในบ้านได้ โดยเริ่มมองหาพื้นที่ว่างอาจจะเป็นหลังบ้านหรือข้างบ้าน ปูหญ้าเทียม เสริมด้วยบรรยากาศเขียวชอุ่มของต้นไม้นานาชนิดโดยเลือกใช้กระถางที่ทำจากงานสาน จัดวางโต๊ะเก้าอี้สำหรับนั่งในสวนและร่มกันแดด วางพร็อพน่ารัก กลายเป็นอีกหนึ่งมุมสงบนั่งพักผ่อนอย่างลงตัว 

จัดสวนด้านนอก เสียงนกร้อง การนั่งจิบชาใต้ร่มกันแดด คุณก็สามารถยกบรรยากาศเช่นนี้มาไว้ในบ้านได้ โดยเริ่มมองหาพื้นที่ว่างอาจจะเป็นหลังบ้านหรือข้างบ้าน ปูหญ้าเทียม เสริมด้วยบรรยากาศเขียวชอุ่มของต้นไม้นานาชนิดโดยเลือกใช้กระถางที่ทำจากงานสาน จัดวางโต๊ะเก้าอี้สำหรับนั่งในสวนและร่มกันแดด วางพร็อพน่ารัก กลายเป็นอีกหนึ่งมุมสงบนั่งพักผ่อนอย่างลงตัว 

แต่หลายคนก็บอกว่า เมื่อพูดถึงบ้านแบบคันทรี มโนภาพของพวกเขาคือ บ้านหลังเล็กที่อยู่ท่ามกลางท้องนา ทุ่งหญ้า มีพื้นที่กว้างๆ ไว้เลี้ยงสัตว์จำพวกวัว ควาย ม้า แกะ และอีกมากมาย

      ถามว่าทั้งฉันและผู้คนเรานั้นใครผิดหรือถูก? คำตอบคือ…ไม่มีใครผิดหรือถูกที่สุด เพราะบ้านสไตล์คันทรีนั้น แตกต่างกันไปตามแต่ละท้องถิ่นของภูมิภาคต่างๆ  บ้านสไตล์คันทรีสะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นและความมีชีวิตชีวาที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติที่ไร้การปรุงแต่ง ซึ่งเรามักจะเห็นบ้านสไตล์นี้ตามภาพยนตร์หรือละครแนวคาวบอย หรือยกตัวอย่างง่ายๆ เช่น บ้านเรือนไทยก็เป็นสไตล์คันทรี เพราะได้มีการออกแบบซึ่งได้ผสมผสานเอกลักษณ์และความเป็นไทยใส่ลงไป สร้างบรรยากาศชนบทแบบไทยๆ ให้หวนคิดถึงอยู่ตลอดเวลา

บ้านสไตล์อิงลิชคันทรี่

      วัสดุที่มักใช้ตกแต่งบ้านสไตล์คันทรี


      -ไม้ การนำไม้มาตกแต่งบ้านจะช่วยสร้างบรรยากาศให้ดูเป็นธรรมชาติ แถมลวดลายแกะสลักของไม้ ยังเติมความแปลกใหม่ได้เสมอ การใช้ไม้เข้ามาตกแต่งบ้านสไตล์คันทรีจึงมักจะโชว์ลายไม้อย่างเต็มที่ ชนิดของไม้ที่นิยมใช้ได้แก่ ไม้สนไม้แอช ไม้โอ๊ค ไม้มะฮอกกานี รวมทั้งไม้สักที่หาได้มากในเมืองไทยด้วย
      -หิน บ้านสไตล์คันทรีส่วนใหญ่มักปูพื้นทางเดินและผนังบ้านด้วยหิน เพื่อความสวยงาม ทั้งยังทำให้บรรยากาศภายในบ้านเย็นและอากาศถ่ายเทตลอดเวลา ซึ่งหินที่นิยมนำมาใช้ได้แก่ หินอ่อน หินแกรนิต ส่วนหินที่ใช้กรุผนัง เป็นประเภท หินภูเขา หินทรายตัด ถึงแม้ในปัจจุบันจะมีผลิตภัณฑ์ที่ทำขึ้นมาเพื่อทดแทนหินแท้ แต่คนก็ยังนิยมใช้หินที่เกิดจากธรรมชาติมากกว่า
      – ผ้า บ้านสไตล์คันทรีนิยมตกแตกด้วยผ้า เพราะสามารถดีไซน์และดัดแปลงได้หลายอย่าง ทั้งผ้าม่าน ผ้าปูโต๊ะ ผ้าบุโซฟา หรือแม้แต่ผ้าปูที่นอนก็ทำได้ ผ้าที่นิยมใช้ คือ ผ้าฝ้ายฝ้าลินิน รวมทั้งผ้าที่ทอขึ้นจากขนสัตว์ อย่างขนแกะ ขนแพะ เป็นต้น phuket village

      เลือกเฟอร์นิเจอร์อย่างไรให้เป็นสไตล์คันทรี?


      การเลือกเฟอร์นิเจอร์ตามสไตล์คันทรี มักเน้นวัสดุที่ทำจากไม้ เรียบง่าย แต่ดูสวยไม่ธรรมดา บางประเทศอาจเน้นลวดลายของการแกะสลักลายไม้ ทำสีขัด ที่ให้ความรู้สึกอบอุ่น ส่วนใครที่มักเลือกเฟอร์นิเจอร์ที่ทำจากผ้า ควรเลือกผ้าที่มีความอ่อนนุ่ม เนื้อเนียนละเอียด การถักทอมีช่องระบายค่อนข้างห่างโทนสีเรียบง่ายไม่ฉูดฉาด ดูแล้วสบายตา แบบบ้านแฝด